วันอัฏฐมีบูชา ประวัติความสำคัญธรรมเนียมปฏิบัติในวันอัฏฐมีบูชา
วันอัฏฐมีบูชา เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง คือ เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า หลังจากเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานได้ 8 วัน
โทษภัยของการพูดโกหก ผิดศีลข้อที่ ๔
ความวุ่นวายที่เกิดบนโลก โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการพูดจาโกหก หลอกลวง กลับกลอกกลับไปกลับมา เรามักจะพบเห็นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ไม่เว้นเด็กเว้นผู้ใหญ่ มีหน้าตาฐานะทางสังคมอย่างไรและไม่มีกำแพงชนชาติมากีดกัน ซึ่งมักจะใช้คำสั้น ๆ ว่า “ เด็กเลี้ยงแกะ ” เป็นข้อความที่บ่งชี้ให้เห็นว่าบุคคลนั้น ๆ ที่ถูกประณามเป็นคนพูดโกหก พูดหลอกลวง ทำให้ผู้อื่นหลงเชื่อ ซึ่งถือว่าผิดศีลห้าในข้อที่ ๔ นั่นเอง ที่มีชื่อว่า มุสาวาท
กราบมุทิตาสักการะเปรียญธรรม 9, 8, 7, 6 ประโยค วัดพระธรรมกาย พ.ศ. 2565
กราบมุทิตาสักการะเปรียญธรรม 9, 8, 7, 6 ประโยค พุทธศักราช 2565 สำนักเรียนวัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
ประวัติสุนทรภู่ ความเป็นมาของวันสุนทรภู่ กวีเอกของโลก
สุนทรภู่ หรือ พระสุนทรโวหาร มีนามเดิมว่า ภู่ เกิดในวังหลัง ปากคลองบางกอกน้อย) เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2329 ท่านเป็นกวีเอกคนหนึ่งของกรุงรัตนโกสินทร์
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2564 สำนักศาสนศึกษาวัดพระธรรมกาย
ขอแสดงมุทิตาสักการะพระภิกษุ - สามเณร ผู้สอบผ่าน บาลีสนามหลวง เปรียญธรรมประโยค ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙ และ บาลีศึกษา ๑, ๒, ๓, ๕, ๙ สำนักศาสนศึกษาวัดพระธรรมกาย สำนักเรียนคณะจังหวัดปทุมธานี ประจำปี พ.ศ ๒๕๖๔
ปฐมเทศนาในวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ ๔๕ ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ คือ วันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์
สรภชาดก ชาดกว่าด้วยละมั่งทำคุณแก่พระราชา
พระเจ้าพรหมทัตรู้สึกเสียหน้าที่ตนทำให้เจ้าละมั่งหนีไปได้ พระองค์ทรงถือพระขรรค์แล้วทรงวิ่งตามละมั่งไปถึง ๓ โยชน์ และได้ไปตกบ่อลึกเป็นเหวประมาณ ๖๐ ศอก ต่อมาพญาละมั่งได้วกกลับมาช่วยพระองค์ให้ขึ้นจากบ่อน้ำ และให้พระราชาขึ้นประทับบนหลังพาออกจากป่ามาส่งลง ณ ที่ไม่ห่างเสนา
กัณหทีปายนชาดก ชาดกว่าด้วยความรักที่มีต่อบุตร
“ เมื่อตอนแรกที่เราบวช เรายินดีประพฤติพรหมจรรย์ได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จากนั้นแม้เราไม่ยินดีก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ถึง ๕๐ กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอให้ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด ” มัณพัพยะได้ถามถึงสาเหตุที่ทีปายนดาบสฝืนประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่ยอมสึกมาครองเรือน “ ถ้าท่านไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ แล้วทำไมท่านไม่ออกมาครองเรือนหละ ” “ เพราะเราไม่อยากให้ใครว่าเราเป็นคนเหลวไหล กลับกรอกนะสิ
เกสวชาดก ชาดกว่าด้วยความคุ้นเคยเป็นรสอันยอดเยี่ยม
นารทอำมาตย์ได้สอบถามอาการของเกสวดาบส "ท่านหายจากโรคได้อย่างไรกัน ขนาดพระเจ้าพาราณสีทรงพาแพทย์มาดูแลรักษาท่านถึง ๕ คน ยังไม่สามารถทำให้ท่านหายได้" "เราดื่มยาคูลที่หุงด้วยข้าวฟ้างและลูกเดือยอันระคนด้วยผักที่ราดด้วยน้ำ ซึ่งไม่เค็มและไม่ได้อบกลิ่น อาหารจะดีหรือไม่ดี ขึ้นอยู่กับบุคคลที่คุ้นเคยกัน แล้วบริโภคในที่ใดการบริโภคในที่นั้นแหละดี เพราะรสทั้งหลายมีความคุ้นเคยเป็นเยี่ยม" เกสวดาบสตอบ
กูฏวาณิชชาดก ชาดกว่าด้วยหนามยอกเอาหนามบ่ง
นายบัณฑิตนั้นไม่ใช่คนโง่ เขาสังเกตเห็นพิรุจหลายอย่างจึงคิดพิสูจน์ว่ารุกขเทวดาที่ต้นไม้นั้นมีอยู่จริงหรือไม่ “ สหายจะให้เราเชื่อเช่นนั้นก็ได้ แต่เราขอพิสูจน์ให้แน่ใจก่อนนะ ” นายบัณฑิตได้เดินไปเก็บฟืนแล้วนำกองไว้ที่โคนต้นไม้ จุดไฟเผาในโพรงไม้นั้น “….เดี๋ยวเถอะจะได้รู้กันว่าเทวดาจริงหรือเทวดาปลอมกันแน่...”